การคำนวณปริมาณการไหลของน้ำจากสูตร Manning Formula S

User Manual: manual pdf -FilePursuit

Open the PDF directly: View PDF PDF.
Page Count: 18

Downloadการคำนวณปริมาณการไหลของน้ำจากสูตร Manning Formula S
Open PDF In BrowserView PDF
ก

คูมือ
การประเมินคาปริมาณการไหลของน้ํา
ดวยวิธี Manning’s formula

กลุมงานสารสนเทศและพยากรณน้ํา
สวนอุทกวิทยา
สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา
พฤษภาคม 2553

ข

สารบัญ
เรื่อง

1.คํานํา
2.การคํานวณปริมาณการไหลของน้ําจากสูตร Manning‘s Formula
3.กรณีที่ 1. สํารวจหาความลาดชันผิวน้าํ จากคราบระดับน้ําสูงสุดได
4.กรณีที่ 2 ไมไดสํารวจหาคาความลาดชันผิวน้ํา
5.หลักการประเมินคาสัมประสิทธิ์ความขรุขระ ( n )
6.ตารางคาสัมประสิทธิ์ความขรุขระ n ในสมการ Manning’s formula
7.รูปประกอบ Manning’s formula

หนา

1
2
3
5
7
8-9
11-16

1

คํานํา
การสํารวจปริมาณน้ําไดถูกเพิ่มความสําคัญมากขึ้นในรูปแบบหลากหลายภารกิจ ถูกนําไปใช
ในดานฐานขอมูล รายงานสภาพน้ํา การพยากรณปริมาณน้าํ และการแจงเตือนภัย การสํารวจทีด่ ี
ยอมทําใหขอมูลไดรับการยอมรับและนาเชื่อถือตอสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้าํ โดยรวม ดังนั้นการ
สํารวจปริมาณน้ําเพื่อสรางเสนโคงปริมาณน้ํา (Rating Curve) จึงเปนงานที่ตองใชความพยายาม
และอุตสาหะอยางมากในการเก็บขอมูลการสํารวจปริมาณน้ํา
แตขอ จํากัดดานจํานวนสถานีที่
รับผิดชอบและเวลาในการสํารวจปริมาณน้ําที่เรงรีบ เพื่อใหทันตอการสํารวจ ทําใหบางสถานีไม
สามารถทําการสํารวจปริมาณน้ําสูงสุดหรือในระดับน้ําสูงได เปนผลทําใหสรางเสนโคงปริมาณน้ํา
ของสถานีที่ไมมีจุดสํารวจปริมาณน้าํ สูงสุดยากลําบากมากขึ้น การใชการประเมินการไหลของน้ําดวย
สูตรแมนนิ่ง (Manning ‘s Formula) เปนวิธีการหนึ่งในการแกปญหาการสํารวจปริมาณน้าํ สูงสุด
ไมได ซึ่งผูจดั ทําคูมือหวังวา คูมือเลมน้ําจะเปนประโยชนตอเจาหนาทีใ่ นการแกปญหาที่เกิดขึน้ ได

กลุมงานสารสนเทศและพยากรณน้ํา
สวนอุทกวิทยา
สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา
พฤษภาคม 2553

2

การคํานวณปริมาณการไหลของน้าํ จากสูตร Manning‘s Formula
สูตรแมนนิ่ง (Manning’s formula) เปนวิธีการใชหลักพลังงาน (Principle of energy) ในการ
ประมวลหาคาความเร็วเฉลี่ยของลําน้ํา การคํานวณจะตองใชขอมูลหรือวัดความลาดเทของผิวน้ําตาม
แนวลําน้ําเพื่อใชเปนคาประมาณของความลาดชันของพลังงาน หรือ Energy gradient เปนสูตรที่
นิยมใชคํานวณคาความเร็วเฉลี่ย
2

1

1 3 2
R S
n
2 1
1.49 3 2
v
R S
n
v

เมื่อ

ระบบเมตริก
ระบบอังกฤษ

n

= คาความเร็วเฉลี่ย เมตร/วินาที
= คาสัมประสิทธิ์ความขรุขระของทองน้ํา

R

= คารัศมีชลศาสตรที่หาไดจากคา

v

A
P

เมตร

A
= พื้นรูปตัดลําน้ํา ตารางเมตร
P
= ความยาวเสนขอบเปยก เมตร
S
= ความลาดชันผิวน้ํา
โดยที่ พื้นทีร่ ูปตัด เสนขอบเปยกและความลาดชันผิวน้ํา หาไดจากการสํารวจภายหลังที่
ปริมาณน้าํ สูงสุดผานไปแลว ซึ่งสังเกตไดจากคราบของระดับน้ําสูงสุด

ในคูมือเลมนีก้ ารใชสูตรแมนนิ่ง(Manning) จะพิจารณา 2 กรณีคือ
1. กรณีที่สํารวจหาความลาดชันผิวน้ําจากคราบน้ําสูงสุดได
2. กรณีไมไดสํารวจหาคาความลาดชันผิวน้าํ

3

กรณีที่ 1. สํารวจหาความลาดชันผิวน้ําจากคราบระดับน้ําสูงสุดได
ตัวอยาง บานกุยมั่ง อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี (K.60) จุดสํารวจน้ําสูงสุดที่สํารวจได (อท.
02) ในป 2008 คือ 10 ส.ค. 2551 ที่ระดับน้ํา 75.705 เมตร(รทก.) เวลาสํารวจ 16.15 –
16.30 ความกวางผิวน้ํา 15.37เมตร พื้นที่รูปตัด 23.151 ม.2 ความเร็วเฉลี่ย 0.609 เมตร/วินาที
ปริมาณน้าํ 14.09 เมตร3/วินาที
(สมมุติ) ชางสํารวจไดทาํ การเดินระดับคราบน้ําสูงสุดที่ 77.83 เมตร (รทก.) ไดคาความ
ลาดชันผิวน้ํา 1: 380
และสรุปขอมูลดังนี้
ความลาดชันผิวน้ํา (S) = 0.002632 (1:380) (จากการสํารวจ (สมมุติ))
พื้นที่รูปตัด (A)
= 70.486 ม.2 (จากการคํานวณหนา 14)
เสนขอบเปยก (P)
= 29.713 เมตร (จากการคํานวณหนา 14)
คาสัมประสิทธิ์ความขรุขระ”n” = 0.1 (ประเมินจากรูปตัดขวางและตารางคา”n”)
รัศมีชลศาสตร ( A )
P

= 2.37722 เมตร
2

แทนคาในสูตร

1

v

1 3 2
R S
n

v

1
70.486 3
x(
) x(0.002632) 2
0.1 29.713

2

2

1

1

v  10 x(2.37722) 3 x(0.002632) 2

v  0.914

เมตร/วินาที
= 70.486 x 0.914
= 64.42 ลูกบาศกเมตร /วินาที

จาก Q = A·V

หากตองการหาคา”n” กอน สามารถหาไดจากสูตรดังนี้
2

n

v
A
P
S
R

=
=
=
=
=

1

1 3 2
R S
v

0.609 เมตร/วินาที (จาก อท.02)
23.151 เมตร2 (จาก อท.02)
18.559 เมตร (จากการคํานวณหนา 13)
0.002632
(ไดจากการเก็บคราบระดับน้ํา)
23.151/18.559 = 2.37722

4

แทนคา
2

1

1
n
x(2.37722) 3 x(0.002632) 2
0.609
n  1.642 x1.7817 x0.0513
n  0.150

จากนั้นนําคา n ไปแทนคาในสูตร

2

1

1
v  R3S 2
n

โดย n ที่ไดตองมีการปรับลดลงเล็กนอย

เนื่องจากวัชพืช หรือสิ่งกีดขวางในลําน้าํ กอนเกิดปริมาณน้ําสูงสุด ไดถูกทําใหราบเรียบโดยปริมาณ
น้ําที่ไหลกอนเกิดปริมาณน้าํ สูงสุดแลว
โดย

A
P
n
S
R

=
=
=
=
=

70.486 (จากการคํานวณหนา 14)
29.713 (จากการคํานวณหนา 14)
0.12 (คํานวณและปรับลดแลว)
0.002632 (จากการเก็บคราบระดับน้ํา)
2.37222
2

แทนคาในสูตร

v  8.333 x1.7792 x0.0513
v  0.761

จาก Q = A.V

1

1
v
x(2.37222) 3 x(0.002632) 2
0.12

= 70.486 x 0.761
= 53.64 เมตร3/วินาที

5

กรณีที่ 2 ไมไดสํารวจหาคาความลาดชันผิวน้ํา
ตัวอยาง กรณีตัวอยาง K.60 สถานีบานกุยมั่ง อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี โดยจุดสํารวจ
ปริมาณน้าํ สูงสุดที่สํารวจไดในป 2008 คือ วันที่ 10 ส.ค. 2551 ที่ระดับน้ํา 75.705 เมตร(รทก.)
เวลาสํารวจ 16.15 – 16.30 ความกวางผิวน้ํา 15.37 เมตร พื้นที่รูปตัด 23.151 ม.2 ความเร็ว
เฉลี่ย 0.609 เมตร/วินาที และปริมาณน้าํ ที่ได 14.09 ม.3/วินาที
1. จากผลการสํารวจดังกลาวสามารถหาคาตางๆ ไดดังนี้
ความลาดเทลําน้ํา(S) = ยังไมทราบคา
พื้นที่รูปตัด(A)
= 23.151 ม.2
(จาก อท.02)
ความยาวเสนขอบเปยก(P) = 18.559 เมตร (จากการคํานวณหนา 13)
ความเร็วเฉลี่ย(v)
= 0.609 เมตร/วินาที
คารัศมีชลศาสตร(R) = 23.151/18.559 = 1.2474
คาสัมประสิทธิ์ความขรุขระ(n)  0.1 (ดูรปู ประกอบหนา 12 และตารางคา n )
คาสัมประสิทธิ์ความขรุขระเมื่อพิจารณาจากรูปตัด (รูปประกอบหนา 12) จะพบวาดานทาย
แนวสํารวจมีวชั พืชและตนไมขึ้นเปนจํานวนมากดังนั้นเมื่อพิจารณาจากตารางคาสัมประสิทธิ์ความ
ขรุขระจะไดคา ประมาณ 0.10 – 0.12
2

แทนคาในสูตร

v

1

1 3 2
R S
n
2
3

(v.n) / R  S

1
2
1

(0.609 x0.1) / 1.2474  S 2
1

(0.04882) 2  ( S 2 ) 2

S = 0.002383
Slope = 1: 419
2. นําคาความลาดเทที่คาํ นวณไดไปแทนคาในสูตรแมนนิ่งที่ระดับน้ําสูงสุด(Peak)ในกรณี
นี้คือ สถานี K.60 สถานีบานกุยมั่ง อ.ทองผาภูมิ จ.กายจนบุรี ระดับน้ําสูงสุดเวลา16.00 น. ที่
77.83 เมตร (รทก.)
คา A ที่ระดับ 77.83 ม. = 70.486 ม.2 (จากการคํานวณหนา 14)
คา P ที่ระดับ 77.83 ม. = 29.713 ม. (จากการคํานวณหนา 14)
คา n ที่ระดับ 77.83 ม. = 0.1 (จากการประเมินคา)
คา S ที่ระดับ 77.83 ม. = 0.002383 (ผลการคํานวณขอ 1)
คา R = A/P = 3.57561 ม.
2

แทนคาในสูตร

v

1

1 3 2
R S
n

6
2

1

1
v
(3.57561) 3 x(0.002383) 2
0.1
v  10 x 2.3393 x0.04881
v  1.142

จาก

Q = A·V

Q = 70.486 x 1.142
Q = 80.40 ม.3/วินาที

7

หลักการประเมินคาสัมประสิทธิ์ความขรุขระ ( n )
จากการวิจยั พบวาสัมประสิทธิ์ความขรุขระแมนนิ่งขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการและปจจัย
เหลานี้ยังมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกันอีกดวย ซึ่งปจจัยตางๆ มีดังตอไปนี้
1. ความขรุขระของผิวหนาทางน้ํา ซึ่งขึ้นอยูกับขนาดและรูปรางของวัสดุที่นํามาใชสราง
ผิวหนาทางน้าํ โดยวัสดุที่มเี ม็ดละเอียดก็จะใหคา n ต่ํา และวัสดุทมี่ ีเม็ดหยาบก็จะใหคา
n สูง ความขรุขระของผิวหนาทางน้ําเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดคา n
2. พืชที่ขึ้นปกคลุมทางน้าํ เชน หญา ซึ่งจะมีผลทําใหเกิดการตานการไหลและจะลดอัตรา
การไหล ผลของพืชที่ขึ้นปกคลุมจะมากหรือนอยขึ้นอยูก ับ ความสูง ความหนาแนน การ
กระจายและชนิดของพืช
3. ความไมสม่าํ เสมอของทางน้ํา ในทางน้ําธรรมชาติความไมสม่ําเสมอของทางน้ําจะ
เกิดขึ้นจากหาดทราย หลุมและบอในทองคลอง เปนตน จากการวิจยั พบวา ถาทางน้ํา
นั้นคอยๆ เปลี่ยนแปลงทีละนอยอยางสม่ําเสมอไมวาการเปลี่ยนแปลงนั้นจะเปนการ
เปลี่ยนแปลงขนาดรูปรางหรือหนาตัดการไหล จะไมมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงคา
n มากนัก แตถาการเปลี่ยนแปลงนั้นเปนการเปลี่ยนอยางฉับพลันก็จะมีผลกระทบตอ
การเปลี่ยนแปลงคา n อยางมาก
4. แนวทางน้าํ ทางน้ําที่มีรศั มีสวนโคงของแนวทางน้ํามากและสวนโคงนั้น ราบเรียบจะมี
ผลตอการเปลี่ยนแปลงคา n นอยมาก แตถาทางน้าํ นั้นมีรัศมีสวนโคงของแนวทางน้ํา
นอยหรือเปนโคงหักขอศอกและโคงกลับไปกลับมา จะทําใหคา n มีคาเพิ่มขึ้นอยางมาก
ซึ่งบางครั้งอาจจะเพิ่มคา n ไดถึง 30% นายสโคบี (Scobey) ไดทําการทดลองในราง
น้ํา (flume) พบวา n จะมีคาเพิ่มขึ้น 0.001 ถารางน้ําเบี่ยงเบนไปเปนมุม 20 องศา
และความยาวของรางน้าํ 30 เมตร
5. การกัดเซาะและการตกตะกอน จากการทดลองพบวา การตกตะกอนจะทําใหทางน้ําที่
ไมสม่ําเสมอเปลี่ยนมาเสมอตนเสมอปลายและคา n จะลดลงในทางตรงกันขาม ถาเกิด
การกัดเซาะก็จะทําใหทางน้าํ ไมสม่ําเสมอและคาของ n จะเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม การ
ตกตะกอนจะขึ้นอยูกับขนาดและชนิดของวัสดุที่ปะปนกับน้ําและทําใหลักษณะการ
ตกตะกอนแตกตางกัน เชน การตะกอนทําใหเกิดสันทรายก็จะเพิ่มคา n เปนตน
6. สิ่งกีดขวาง สิ่งกีดขวางทางน้ํา เชน ตอหมอสะพาน จะทําให n มีคาเพิ่มขึ้น การเพิ่มคา
n จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับชนิด ขนาด รูปราง ปริมาณและการจัดวางตัวของสิ่งกีดขวาง
7. ความลึกการไหลและอัตราการไหล โดยทั่วไปทางน้ําจะมีคา n ลดลง เมื่อความลึกการ
ไหลและอัตราการไหลมีคา มากขึ้น ที่เปนเชนนี้อธิบายไดวา เมื่อทางน้ํามีความลึกการ
ไหลนอย ความไมสม่ําเสมอของทองคลองจะทําใหมบี างสวนโผลขึ้นมาทําให n มีคามาก
อยางไรก็ตาม ทางน้ําอาจจะมีคา n เพิ่มขึ้น เมื่อความลึกการไหลและอัตราการไหลมีคา
มากขึ้นก็ได ถาลาดตลิ่งของทางน้าํ ขรุขระ และมีหญาขึน้ รกรุงรัง

8

ตารางคาสัมประสิทธิ์ความขรุขระ n ในสมการ Manning’s formula
ชนิดและลักษณะทางน้ํา
1. ทางน้าํ ธรรมชาติ
1.1 ลําน้ํายอย ( ความกวางผิวน้ําที่เกิดอุทกภัย 100 ฟุต )
1.1.1 ลําน้ําบนที่ราบ
1.1.1.1 สะอาด ตรง ระดับสูง ไมมีแยกและบอลึก
1.1.1.2 เหมือนขอแรกแตมหี ินและวัชพืชมากกวา
1.1.1.3 สะอาด คดเคีย้ ว มีบอและแกงใตน้ํา
1.1.1.4 เหมือนขอ 2.1.1.3 แตมีวชั พืชและหิน
1.1.1.5 เหมือนขอ 2.1.1.4 แตระดับต่ํากวาความลาดเท
และรูปตัดไมแนนอน
1.1.1.6 เหมือนขอ 2.1.1.4 แตมหี นิ มากกวา
1.1.1.7 ชวงที่ไหลชา วัชพืช บอลึก
1.1.1.8 ชวงที่มีวัชพืชมาก บอลึกหรือทางอุทกภัยที่มี
ตนไม
1.1.2 ลําน้ําในหุบเขาไมมีวัชพืชในทางน้าํ ตลิ่งลาดชัน
ตนไมและพุมไมตามตลิ่งอยูใตนา้ํ ทีร่ ะดับการไหลสูง
1.1.2.1 กน : กรวด กอนหิน และหินกอนใหญ ๆ
เล็กนอย
1.1.2.2 กน : กอนหิน หินกอนใหญกวาขอแรก
1.2 ทาม
1.2.1 ทุงหญา ไมมีพุมไม
1.2.1.1 หญาสั้น
1.2.1.2 หญายาว
1.2.2 พื้นที่เพาะปลูก
1.2.2.1 ไมมีพืช
1.2.2.2 พืชเปนแถวที่แก
1.2.2.3 พืชไรทแี่ ก

ต่ําสุด

ปาน สูงสุด
กลาง

0.025
0.030
0.033
0.035

0.030
0.035
0.040
0.045

0.033
0.040
0.045
0.050

0.040
0.045
0.050

0.048
0.050
0.070

0.055
0.060
0.080

0.075

0.100

0.150

0.030

0.040

0.050

0.040

0.050

0.070

0.025
0.030

0.030
0.035

0.035
0.050

0.020
0.025
0.030

0.030
0.035
0.040

0.040
0.045
0.050

9

ชนิดและลักษณะทางน้ํา
1.2.3 ไมพุม
2.2.3.1 ไมพุมกระจัดกระจาย วัชพืชขึ้นหนา
1.2.4 ตนไม
1.2.4.1 พื้นที่วางเปลามีตอไมไมมหี นอ
1.2.4.2 เหมือนขอ 2.2.4.1 แตมีหนอมาก
1.2.4.3 มีไมยืนตนมาก มีไมลมเล็กนอย ตนเล็กมีเล็กนอย
ระดับน้ําต่าํ กวากิ่งกาน
1.2.4.4 เหมือนขอ 2.2.4.3 แตระดับน้ําถึงกิ่งกาน
1.3 ลําน้ําหลัก ( ผิวน้ําเมื่อเกิดอุทกภัยกวาง 100 ฟุต ) คานอย
กวาลําน้ํายอยที่มีลักษณะเหมือนกัน
1.3.1 รูปตัดสม่ําเสมอ ไมมีกอนหินหรือไมพุม
1.3.2 ไมสม่ําเสมอ และรูปตัดขรุขระ

ต่ําสุด ปาน สูงสุด
กลาง
0.035

0.050

0.070

0.030
0.050

0.040
0.060

0.050
0.080

0.080
0.100

0.100
0.120

0.120
0.160

0.025
0.035

0.060
0.100

ที่มา : Bruce R. el al., “ Fundamentals of Fluid Mechanics ” , Iowa State University.
Ames, Iowa, USA, 1990, 843 pp.

10

ตัวอยางการคํานวณ

รูปตัดขวางลําน้ําที่แนวสํารวจของสถานี K.60 บานกุยมั่ง

รูปถายแนวสํารวจของสถานี K.60 บานกุยมั่ง

ตัวอยางการคํานวณพืน้ ที่รูปตัดขวางและเสนขอบเปยก จากจุดสํารวจฯจริที่สํารวจไดในระดับสูงสุด

ตัวอยางการคํานวณพืน้ ที่รูปตัดขวางและเสนขอบเปยก จากระดับน้ําสูงสุด (Peak)

ตัวอยาง การตรวจสอบพื้นที่รูปตัดขวางและเสนขอบเปยก ที่คํานวณไดของระดับสูงสุด (Peak)

ตัวอยาง การลงจุดแมนนิ่งที่คาํ นวณไดของระดับสูงสุด (Peak)

Manning



Source Exif Data:
File Type                       : PDF
File Type Extension             : pdf
MIME Type                       : application/pdf
PDF Version                     : 1.6
Linearized                      : No
Author                          : TrueFasterUser
Company                         : TrueFasterOS
Create Date                     : 2010:07:28 15:22:21+07:00
Modify Date                     : 2010:07:31 11:11:21+07:00
Source Modified                 : D:20100728082213
Has XFA                         : No
Tagged PDF                      : No
XMP Toolkit                     : Adobe XMP Core 4.2.1-c041 52.342996, 2008/05/07-20:48:00
Producer                        : Acrobat Distiller 8.1.0 (Windows)
Creator Tool                    : Acrobat PDFMaker 8.1 for Word
Metadata Date                   : 2010:07:31 11:11:21+07:00
Document ID                     : uuid:39bc9d4f-b92f-406c-b675-136eda3ab70b
Instance ID                     : uuid:009ab1c7-c428-4dd3-b2dd-7c9f45f00958
Subject                         : 29
Format                          : application/pdf
Creator                         : TrueFasterUser
Title                           : การคำนวณปริมาณการไหลของน้ำจากสูตร Manning Formula
Page Layout                     : OneColumn
Page Count                      : 18
EXIF Metadata provided by EXIF.tools

Navigation menu