การคำนวณปริมาณการไหลของน้ำจากสูตร Manning Formula S

User Manual: manual pdf -FilePursuit

Open the PDF directly: View PDF PDF.
Page Count: 18

คูมือ
การประเมนคาปรมาณการไหลของน้ํา
ดวยวิธี Manning’s formula
กลุมงานสารสนเทศและพยากรณน้ํา
สวนอทกวทยา
สํานกอทกวทยาและบรหารน้ํา
พฤษภาคม 2553
สารบัญ
เรื่อง หนา
1.คํานํา 1
2.การคานวณปรมาณการไหลของน้ําจากสูตร Manning‘s Formula 2
3.กรณีที่ 1. สํารวจหาความลาดชนผวน้ําจากคราบระดบน้ําสงสดได 3
4.กรณีที่ 2 ไมไดสํารวจหาคาความลาดชนผวน้ํา 5
5.หลกการประเมนคาสมประสทธิ์ความขรขระ ( n ) 7
6.ตารางคาสมประสทธิ์ความขรขระ n ในสมการ Manning’s formula 8-9
7.รูปประกอบ Manning’s formula 11-16
1
คํานํา
การสารวจปรมาณน้ําไดถูกเพิ่มความสาคญมากขึ้นในรปแบบหลากหลายภารกิจ ถูกนาไปใช
ในดานฐานขอมูล รายงานสภาพน้ํา การพยากรณปรมาณน้ําและการแจงเตอนภัย การสารวจที่ดี
ยอมทาใหขอมลไดรับการยอมรบและนาเชื่อถอตอสานกอทกวทยาและบรหารน้ําโดยรวม ดังนั้นการ
สํารวจปรมาณน้ําเพื่อสรางเสนโคงปรมาณ้ํา (Rating Curve) จึงเปนงานที่ตองใชความพยายาม
และอตสาหะอยางมากในการเกบขอมลการสารวจปรมาณน้ํา แตขอจากดดานจานวนสถานีที่
รับผดชอบและเวลาในการสารวจปรมาณน้ําที่เรงรีบ เพื่อใหทันตอการสํารวจ ทําใหบางสถานไม
สามารถทาการสารวจปรมาณน้ําสงสดหรอในระดบน้ําสงได เปนผลทาใหสรางเสนโคงปรมาณน้ํา
ของสถานีที่ไมมีจุดสารวจปรมาณน้ําสงสดยากลาบากมากขึ้น ารใชการประเมินการไหลของน้ําดวย
สูตรแมนนิ่ง (Manning ‘s Formula) เปนวิธีการหนึ่งในการแกปญหาการสารวจปรมาณน้ําสงสุด
ไมได ซึงผูจัดทาคูมือหวงวา คูมือเลมน้ําจะเปนประโยชนตอเจาหนาที่ในการแกปญหาที่เกดขึ้นได
กลุมงานสารสนเทศและพยากรณน้ํา
สวนอทกวทยา
สํานกอทกวทยาและบรหารน้ํา
พฤษภาคม 2553
2
การคานวณปรมาณการไหลของน้ําจากสูตร Manning‘s Formula
สูตรแมนนิ่ง (Manning’s formula) เปนวิธีการใชหลกพลงงาน (Principle of energy) ในการ
ประมวลหาคาความเรวเฉลี่ยของลาน้ํา การคานวณจะตองใชขอมลหรอวดความลาดเทของผวน้ําตาม
แนวลาน้ําเพื่อใชเปนคาประมาณของความลาดชนของพลงงาน หรือ Energy gradient เปนสตรที่
นิยมใชคํานวณคาความเรวเฉลี่ย
2
1
3
2
1SR
n
v ระบบเมตริก
2
1
3
2
49.1 SR
n
v ระบบองกฤษ
เมื่อ v = คาความเรวเฉลี่ย เมตร/วินาท
n = คาสมประสทธิ์ความขรขระของทองน้ํา
R = คารศมชลศาสตรที่หาไดจากคา P
A เมตร
A = พื้นรปตดลาน้ํา ตารางเมตร
P = ความยาวเสนขอบเปยก เมตร
S = ความลาดชนผวน้ํา
โดยที่ พื้นที่รูปตัด เสนขอบเปยกและความลาดชนผวน้ํา หาไดจากการสารวจภายหลงที่
ปรมาณน้ําสงสดผานไปแลว ซึ่งสงเกตไดจากคราบของระดบน้ําสงสุด
ในคูมือเลมนี้การใชสูตรแมนนิ่ง(Manning) จะพจารณา 2 กรณีคือ
1. กรณีที่สํารวจหาความลาดชนผวน้ําจากคราบน้ําสงสดได
2. กรณไมไดสํารวจหาคาความลาดชนผวน้ํา
3
กรณีที่ 1. สํารวจหาความลาดชันผิวน้ําจากคราบระดบน้ําสูงสุดได
ตัวอยาง บานกยมั่ง .ทองผาภูมิ .กาญจนบุรี (K.60) จุดสารวจน้ําสงสดที่สํารวจได (อท.
02) ในป 2008 คือ 10 .. 2551 ที่ระดบน้ํา 75.705 เมตร(รทก.) เวลาสารวจ 16.15
16.30 ความกวางผวน้ํา 15.37เมตร พื้นที่รูปตัด 23.151 .2 ความเรวเฉลี่ย 0.609 เมตร/วินาท
ปรมาณน้ํา 14.09 เมตร3/วินาท
(สมมุติ) ชางสารวจไดทําการเดนระดบคราบน้ําสงสดที่ 77.83 เมตร (รทก.) ไดคาความ
ลาดชนผวน้ํา 1: 380
และสรปขอมลดงนี้
ความลาดชนผวน้ํา (S) = 0.002632 (1:380) (จากการสารวจ (สมมุติ))
พื้นที่รูปตัด (A) = 70.486 .2 (จากการคานวณหนา 14)
เสนขอบเปยก (P) = 29.713 เมตร (จากการคานวณหนา 14)
คาสมประสทธิ์ความขรขระ”n” = 0.1 (ประเมนจากรปตดขวางและตารางคา”n”)
รัศมชลศาสตร ( P
A) = 2.37722 เมตร
แทนคาในสตร 2
1
3
2
1SR
n
v
2
1
3
2
)002632.0()
713.29
486.70
(
1.0
1xxv
2
1
3
2
)002632.0()37722.2(10 xxv
914.0v เมตร/วินาท
จาก Q = A·V = 70.486 x 0.914
= 64.42 ลูกบาศกเมตร /วินาท
หากตองการหาคา”n” กอน สามารถหาไดจากสตรดงนี้
2
1
3
2
1SR
v
n
v = 0.609 เมตร/วินาท (จาก อท.02)
A = 23.151 เมตร2 (จาก อท.02)
P = 18.559 เมตร (จากการคานวณหนา 13)
S = 0.002632 (ไดจากการเกบคราบระดบน้ํา)
R = 23.151/18.559 = 2.37722
4
แทนคา
2
1
3
2
)002632.0()37722.2(
609.0
1xxn
0513.07817.1642.1 xxn
150.0
n
จากนั้นนาคา n ไปแทนคาในสตร 2
1
3
2
1SR
n
v โดย n ที่ไดตองมการปรบลดลงเลกนอย
เนื่องจากวชพืช หรอสิ่งกดขวางในลาน้ํากอนเกดปรมาณน้ําสงสุด ไดถูกทาใหราบเรยบโดยปรมาณ
น้ําที่ไหลกอนเกดปรมาณน้ําสงสดแลว
โดย A = 70.486 (จากการคานวณหนา 14)
P = 29.713 (จากการคานวณหนา 14)
n = 0.12 (คํานวณและปรบลดแลว)
S = 0.002632 (จากการเกบคราบระดบน้ํา)
R = 2.37222
แทนคาในสตร 2
1
3
2
)002632.0()37222.2(
12.0
1xxv
0513.07792.1333.8 xxv
761.0v
จาก Q = A.V = 70.486 x 0.761
= 53.64 เมตร3/วินาท
5
กรณีที่ 2 ไมไดสํารวจหาคาความลาดชันผิวน้ํา
ตัวอยาง กรณีตัวอยาง K.60 สถานีบานกยมั่ง .ทองผาภูมิ .กาญจนบุรี โดยจดสารวจ
ปรมาณน้ําสงสดที่สํารวจไดในป 2008 คือ วันที่ 10 .. 2551 ที่ระดบน้ํา 75.705 เมตร(รทก.)
เวลาสารวจ 16.15 16.30 ความกวางผวน้ํา 15.37 เมตร พื้นที่รูปตัด 23.151 .2 ความเร็ว
เฉลี่ย 0.609 เมตร/วินาท และปรมาณน้ําที่ได 14.09 .3/วินาท
1. จากผลการสารวจดงกลาวสามารถหาคาตางๆ ไดดังนี้
ความลาดเทลาน้ํา(S) = ยังไมทราบคา
พื้นที่รูปตัด(A) = 23.151 .2 (จาก อท.02)
ความยาวเสนขอบเปยก(P) = 18.559 เมตร (จากการคานวณหนา 13)
ความเรวเฉลี่ย(v) = 0.609 เมตร/วินาท
คารศมชลศาสตร(R) = 23.151/18.559 = 1.2474
คาสมประสทธิ์ความขรขระ(n)
0.1 (ดูรูปประกอบหนา 12 และตารางคา n )
คาสมประสทธิ์ความขรขระเมื่อพจารณาจากรปตัด (รูปประกอบหนา 12) จะพบวาดานทาย
แนวสารวจมีวัชพชและตนไมขึ้นเปนจานวนมากดงนั้นเมื่อพจารณาจากตารางคาสมประสทธิ์ความ
ขรขระจะไดคาประมาณ 0.10 0.12
แทนคาในสตร 2
1
3
2
1SR
n
v
2
1
3
2
/).( SRnv
2
1
2474.1/)1.0609.0( Sx
2
2
1
2)()04882.0( S
S = 0.002383
Slope = 1: 419
2. นําคาความลาดเทที่คํานวณไดไปแทนคาในสตรแมนนิ่งที่ระดบน้ําสงสุด(Peak)ในกรณ
นี้คือ สถาน K.60 สถานีบานกยมั่ง .ทองผาภูมิ .กายจนบุรี ระดบน้ําสงสดเวลา16.00 . ที่
77.83 เมตร (รทก.)
คา A ที่ระดับ 77.83 . = 70.486 .2 (จากการคานวณหนา 14)
คา P ที่ระดับ 77.83 . = 29.713 . (จากการคานวณหนา 14)
คา n ที่ระดับ 77.83 . = 0.1 (จากการประเมนคา)
คา S ที่ระดับ 77.83 . = 0.002383 (ผลการคานวณขอ 1)
คา R = A/P = 3.57561 .
แทนคาในสตร 2
1
3
2
1SR
n
v
6
2
1
3
2
)002383.0()57561.3(
1.0
1xv
04881.03393.210 xxv
142.1v
จาก Q = A·V Q = 70.486 x 1.142
Q = 80.40 .3/วินาท
7
หลกการประเมินคาสมประสทธิ์ความขรขระ ( n )
จากการวิจัยพบวาสมประสทธิ์ความขรขระแมนนิ่งขึ้นอยูกับปจจยหลายประการและปจจัย
เหลานี้ยังมความสมพนธเกี่ยวเนื่องกนอกดวย ซึ่งปจจยตางๆ มีดังตอไปนี้
1. ความขรขระของผวหนาทางน้ํา ซึ่งขึ้นอยูกับขนาดและรปรางของวสดุที่นํามาใชสราง
ผิวหนาทางน้ํา โดยวสดุที่มีเมดละเอยดกจะใหคา n ่ํา และวสดุที่มีเมดหยาบกจะใหคา
n สูง ความขรขระของผวหนาทางน้ําเปนปจจยสาคญในการกาหนดคา n
2. พืชที่ขึ้นปกคลมทางน้ํา เชน หญา ซึ่งจะมผลทาใหเกดการตานการไหลและจะลดอตรา
การไหล ผลของพชที่ขึ้นปกคลมจะมากหรอนอยขึ้นอยูกับ ความสูง ความหนาแนน การ
กระจายและชนดของพืช
3. ความไมสม่ําเสมอของทางน้ํา ในทางน้ําธรรมชาตความไมสมาเสมอของทางน้ําจะ
เกดขึ้นจากหาดทราย หลมและบอในทองคลอง เปนตน จากการวิจัยพบวา ถาทางน้ํา
นั้นคอยๆ เปลี่ยนแปลงทละนอยอยางสม่ําเสมอไมวาการเปลี่ยนแปลงนั้นจะเปนการ
เปลี่ยนแปลงขนาดรูปรางหรอหนาตดการไหล จะไมมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงคา
n มากนัก แตถาการเปลี่ยนแปลงนั้นเปนการเปลี่ยนอยางฉบพลนกจะมผลกระทบตอ
การเปลี่ยนแปลงคา n อยางมาก
4. แนวทางน้ํา ทางน้ําที่มีรัศมีสวนโคงของแนวทางน้ํามากและสวนโคงนั้น ราบเรยบจะม
ผลตอการเปลี่ยนแปลงคา n นอยมาก แตถาทางน้ํานั้นมีรัศมีสวนโคงของแนวทางน้ํา
นอยหรอเปนโคงหกขอศอกและโคงกลบไปกลบมา จะทาใหคา n มีคาเพิ่มขึ้นอยางมาก
ซึ่งบางครั้งอาจจะเพิ่มคา n ไดถึง 30% นายสโคบ (Scobey) ไดทําการทดลองในราง
น้ํา (flume) พบวา n จะมีคาเพิ่มขึ้น 0.001 ถารางน้ําเบี่ยงเบนไปเปนมุม 20 องศา
และความยาวของรางน้ํ 30 เมตร
5. การกดเซาะและการตกตะกอน จากการทดลองพบวา การตกตะกอนจะทําใหทางน้ําที่
ไมสม่ําเสมอเปลี่ยนมาเสมอตนเสมอปลายและคา n จะลดลงในทางตรงกนขาม ถาเกิด
การกดเซาะกจะทาใหทางน้ําไมสม่ําเสมอและคาของ n จะเพิ่มขึ้น อยางไรกตาม การ
ตกตะกอนจะขึ้นอยูกับขนาดและชนดของวสดุที่ปะปนกบน้ําและทาใหลักษณะการ
ตกตะกอนแตกตางกัน เชน การตะกอนทาใหเกดสนทรายกจะเพิ่มคา n เปนตน
6. สิ่งกดขวาง สิ่งกดขวางทางน้ํา เชน ตอหมอสะพาน จะทาให n มีคาเพิ่มขึ้น การเพิ่มคา
n จะมากหรอนอยขึ้นอยูกับชนิด ขนาด รูปราง ปรมาณและการจดวางตวของสิ่งกดขวาง
7. ความลกการไหลและอตราการไหล โดยทั่วไปทางน้ําจะมีคา n ลดลง เมื่อความลกการ
ไหลและอตราการไหลมีคามากขึ้น ที่เปนเชนนี้อธบายไดวา เมื่อทางน้ํามความลกการ
ไหลนอย ความไมสม่ําเสมอของทองคลองจะทาใหมีบางสวนโผลขึ้นมาทาให n มีคามาก
อยางไรกตาม ทางน้ําอาจจะมีคา n เพิ่มขึ้น เมื่อความลกการไหลและอตราการไหลมีคา
มากขึ้นกได ถาลาดตลิ่งของทางน้ําขรขระ และมหญาขึ้นรกรุงรัง
8
ตารางคาสมประสทธิ์ความขรุขระ n ในสมการ Manning’s formula
ชนดและลกษณะทางน้ํา ต่ําสุด ปาน
กลาง
สูงสุด
1. ทางน้ําธรรมชาต
1.1 ลําน้ํายอย ( ความกวางผวน้ําที่เกดอทกภัย 100 ฟุต )
1.1.1 ลําน้ําบนที่ราบ
1.1.1.1 สะอาด ตรง ระดบสูง ไมมีแยกและบอลึก
1.1.1.2 เหมอนขอแรกแตมีหินและวชพชมากกวา
1.1.1.3 สะอาด คดเคี้ยว มีบอและแกงใตน้ํา
1.1.1.4 เหมอนขอ 2.1.1.3 แตมีวัชพชและหิน
1.1.1.5 เหมอนขอ 2.1.1.4 แตระดบต่ํากวาความลาดเท
และรปตดไมแนนอน
1.1.1.6 เหมอนขอ 2.1.1.4 แตมีหินมากกวา
1.1.1.7 ชวงที่ไหลชา วัชพืช บอลึก
1.1.1.8 ชวงที่มีวัชพชมาก บอลกหรอทางอทกภยที่มี
ตนไม
1.1.2 ลําน้ําในหบเขาไมมีวัชพชในทางน้ํา ตลิ่งลาดชัน
ตนไมและพุมไมตามตลิ่งอยูใตน้ําที่ระดบการไหลสูง
1.1.2.1 กน : กรวด กอนหิน และหนกอนใหญ
เลกนอย
1.1.2.2 กน : กอนหิน หินกอนใหญกวาขอแรก
1.2 ทาม
1.2.1 ทุงหญา ไมมีพุมไม
1.2.1.1 หญาสั้น
1.2.1.2 หญายาว
1.2.2 พื้นที่เพาะปลูก
1.2.2.1 ไมมีพืช
1.2.2.2 พืชเปนแถวที่แก
1.2.2.3 พืชไรที่แก
0.025
0.030
0.033
0.035
0.040
0.045
0.050
0.075
0.030
0.040
0.025
0.030
0.020
0.025
0.030
0.030
0.035
0.040
0.045
0.048
0.050
0.070
0.100
0.040
0.050
0.030
0.035
0.030
0.035
0.040
0.033
0.040
0.045
0.050
0.055
0.060
0.080
0.150
0.050
0.070
0.035
0.050
0.040
0.045
0.050
9
ชนดและลกษณะทางน้ํา ต่ําสุด ปาน
กลาง
สูงสุด
1.2.3 ไมพุม
2.2.3.1 ไมพุมกระจัดกระจาย วัชพชขึ้นหนา
1.2.4 ตนไม
1.2.4.1 พื้นที่วางเปลามตอไมไมมีหนอ
1.2.4.2 เหมอนขอ 2.2.4.1 แตมีหนอมาก
1.2.4.3 มีไมยืนตนมาก มีไมลมเลกนอย ตนเลกมเลกนอย
ระดบน้ําต่ํากวากิ่งกาน
1.2.4.4 เหมอนขอ 2.2.4.3 แตระดบน้ําถงกิ่งกาน
1.3 ลําน้ําหลัก ( ผิวน้ําเมื่อเกดอทกภยกวาง 100 ฟุต ) คานอย
กวาลาน้ํายอยที่มีลักษณะเหมอนกัน
1.3.1 รูปตดสม่ําเสมอ ไมมีกอนหนหรือไมพุม
1.3.2 ไมสม่ําเสมอ และรปตดขรขระ
0.035
0.030
0.050
0.080
0.100
0.025
0.035
0.050
0.040
0.060
0.100
0.120
0.070
0.050
0.080
0.120
0.160
0.060
0.100
ที่มา : Bruce R. el al., “ Fundamentals of Fluid Mechanics ” , Iowa State University.
Ames, Iowa, USA, 1990, 843 pp.
10
ตัวอยางการคานวณ
รูปตดขวางลาน้ําที่แนวสารวจของสถาน K.60 บานกยมั่ง
รูปถายแนวสารวจของสถาน K.60 บานกยมั่ง
ตัวอยางการคานวณพื้นที่รูปตดขวางและเสนขอบเปยก จากจดสารวจฯจริที่สํารวจไดในระดบสงสุด
ตัวอยางการคานวณพื้นที่รูปตดขวางและเสนขอบเปยก จากระดบน้ําสงสุด (Peak)
ตัวอยาง การตรวจสอบพื้นที่รูปตัดขวางและเสนขอบเปยก ที่คํานวณไดของระดบสงสุด (Peak)
Manning
ตัวอยาง การลงจดแมนนิ่งที่คํานวณไดของระดบสงสุด (Peak)

Navigation menu